2009年8月23日 星期日

อิบาดะห์ที่ถูกต้องมาจากไหน อิบาดะห์ที่ถูกใจใครนำมา


السلام عليكم ورحمة الله وبركا ته

โอ้บรรดา ผู้ปลื้มปิติกับรอมฏอนที่กำลังมาเยือนทั้งหลายครับ

ทนอ่านมันสักนิด....เพื่อตัวท่านเองหล่ะนะ

นี่ก็อีกไม่ถึงสัปดาห์แล้วใช่ไหมครับ ที่วันของผู้ศรัทธาเขาจะยินดีและตื่นเต้นที่จะลิ้มรสชาติ

ถึงการทำอิบาดะห์ที่มากมายด้วยผลบุญและการทดสอบถึงอิบาดะห์ที่ได้กระทำไว้ครับ

แล้ววันนี้!ท่านเตรียมแล้วหรือยัง และแสวงหาแล้วหรือยัง ซึ่งความรู้ของเดือนรอมฎอนครับ


ท่านรอซูล(ซ.ล)กล่าวว่า "บางทีผู้ถือศีลอดนั้น ส่วนได้ ของเขา จากการถือศีลอดของเขาก็คือ

"การหิวและการกระหายเท่านั้น"

(บันทึกโดยอิบนูมาญะฮฺและอะหมัด รายงานจากท่านอะบีฮูรอยเราะฮฺ ด้วยสายสืบที่ศอเหี้ยะ)

สาเหตุที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะว่า คนเรามักจะไม่ตระหนัก ไม่เรียนรู้ ไม่ใส่ใจ และไม่ศึกษา ถึงข้อเท็จจริงของการถือศีลอดที่อัลลอฮ(ซ.บ)ทรงใช้ให้เราปฏิบัติ ทรงห้ามให้เราปฏิบัติในเดือนดังกล่าว จึงนำมาซึ่งความสูญเปล่า ความบกพร่องด้วยการพูดหรือการกระทำที่ทำให้ผลบุญและการตอบแทนนั้นสูญเสียไป

พี่น้องครับ

ความพร้อมของความรู้ย่อมนำมาซึ่งความสมบูรณ์ของอิบาดะห์

และความสมบูรณ์ของอิบาดะห์ย่อมนำมาซึ่งการตอบรับจากอัลลอฮ(ซ.บ)ที่สมบูรณ์ครับ.

...อินชาอัลลอฮ

ฉะนั้น

ท่านเตรียมตัวแล้วหรือยัง ท่านแสวงหาแล้วหรือยัง หรือท่านจะบอกว่า เตรียมตัวอะไรกัน? นั่นนะซิ

เตรียมตัวอะไรครับ ...เตรียมตัวสอบ เตรียมตัวไปทำงาน ไปตลาด ไปสอน ไปเรียน ไปดูหนัง..ไปดูบอลหรือไปเดทกับแฟนหละ อืม... เราทุกคนคงจะเตรียมหลายๆอย่างในแต่ละวันนะครับ

แต่ถามว่า ท่านเตรียมทำไมกัน? ก็เพื่อ "ให้สอบได้คะแนนดี ใช่ไหม? "เข้างานได้ตรงเวลา .ใช่ไหม? เพื่อเป็นเสบียงของการอยู่รอดในดุนยา ใช่ไหม? ก็เป็นสิ่งที่ดีนะครับ แต่หากจะถามท่านว่า ท่านเตรียมอย่างไรเพื่อรับรอมฎอนครับ บางคนที่ยังไม่ใส่ใจในวันนี้ อาจจะถามกลับว่า เตรียมทำไมหรอ? เดือนรอมฎอน แล้วไง!ไม่เห็นต้องเตรียมเลย ทำไมต้องเตรียมด้วย .....นั่นนะซิ ทำไมต้องเตรียมด้วยครับ

ลองนึกดูซิครับ

แต่ละวันท่านเตรียมอะไร ..เสบียงดุนยา ดุนยา ดุนยา เท่านั้นนะหรอ แต่ไม่เตรียมอะไรเพื่ออาคีเราะห์เลยหรือ

หลายๆคนมักจะบอกว่า เดือนรอมฎอนดีอย่างนั้น ดีอย่างนี้ บวชแล้วดี อย่างนั้น ได้ผลบุญเท่านั้นเท่านี้ ขอโทษนะครับ ท่านลืมอะไรบางอย่างหรือเปล่าครับ..อะไรน่ะหรือ? ก็ลืมเตรียมตัวไงครับ ก็การงานที่ดีขึ้นอยู่กับความพร้อมของความรู้มิใช่หรือ? ความสมบูรณ์ของอิบาดะห์ที่ทำขึ้นอยู่กับความรู้มิใช่หรือ? การตอบรับของอัลลอฮ(ซ.บ) กับอิบาดะห์ขึ้นอยู่กับความรู้ที่มาจากอัลลอฮว่า รอซูลว่าอย่างแท้จริงมิใช่หรือ?

หากเราไม่เตรียม เราจะทำได้อย่างมีประสิทธิภาพได้ยังไง.... จริงไหมครับ เช่น จะละหมาด หากไม่เตรียมตัว จะละหมาดได้อย่างมีความคุชัวะ มีความสงบรึ เช่นเดียวกัน การถือศีลอด ก็ต้องอาศัยการเตรียมตัว เตรียมสภาพ ร่างกายและจิตใจเมือนๆกัน ฉะนั้น เพื่อท่านจะได้ปรับตัวเองได้อย่างวรวดเร็ว ได้ผลบุญเต็มเม็ดเต็มหน่วย อยากไหม ชอบไหม ที่เราจะได้คะแนนเต็มร้อย แน่นอนคงอยากซิ เช่นกันอยากให้ผลบุญเต็มๆไหม ถูกตอบรับไหมก็ต้องเตรียมตัวซิครับ อย่ามองข้ามการเตรียมตัวซิ

นักมวยยังต้องซ้อมเป็นเดือน จะสอบยังต้องเตรียมเป็นเดือน เตรียมจัดงานยังต้องเตรียมเป็นเดือน

"ไฉนเลยเตรียมเพื่อรอมฏอน เราจะไม่เตรียมตัวครับ"

นี่ก็ไม่ถึงสัปดาห์แล้ว เตรียมซะเถิด แสวงกันเถิดครับ ซึ่งความรู้ที่สอดคล้องกับหลักการอิสลามครับ

ถามท่านว่า

เป็นไปได้ไหม หากการทำอามาลของท่านทั้งชีวิต ทั้งเดือนรอมฎอน แต่อามาลของท่านกลับถูกปฏิเสธ ณ อัลลอฮ(ซ.บ)อย่างสิ้นเชิงครับ คงไม่คิดหรอกนะครับว่าเป็นไปได้ไง ฉันก็ละหมาดนะ ซะกาตนะ ถือบวชนะ เป็นไปได้ไงอัลลอฮ(ซ.บ)จะปฏิเสธครับ แต่พี่น้องรู้ไหม อัลลอฮกล่าวไว้ รอซูลกล่าวไว้ครับว่า เป็นไปได้ หากอามาลที่ท่านทำนั้น ปราศจากซึ่งที่มาที่ไปจากอัลลอฮว่า รอซูลว่าปราศจากซึ่งหลักการของอิสลามครับ เพราะอัลลอฮ(ซ.บ)ทรงตรัสไว้ในซูเราะห์อาละอิมรอน อายะฮที่ 85 ว่า "และผู้ใดแสวงหาศาสนาหนึ่งศาสนาใดอื่นจากอิสลามแล้ว ศาสนานั้นจะไม่ถูกตอบรับจากเขาเป็นอันขาด และในปรโลกเขาจะอยู่ในหมู่ผู้ขาดทุน"

คือ อัลลอฮ(ซ.บ)จะไม่ทรงรับศาสนานั้นจากเขาเป็นอันขาด


และมีรายงานจากท่านหญิงอาอีซะห์ (ร.ด) รายงานว่า ท่านรอซูล(ซ.ล)กล่าวว่า....."บุคคลใดก็ตามที่ประกอบภารกิจหนึ่ง (ในเรื่องของศาสนา)ที่ไม่มีอยู่ในศาสนา (อิสลาม)ของเรา สิ่งนั้นคือสิ่งที่ถูกปฏิเสธ" (บันทึกโดยอิหม่ามมุสลิม)

แล้วอย่างนี้ ท่านกลัวไหม ท่านกังวลไหม แล้วท่านจะใส่ใจอีกไหมครับ เมื่ออัลลอฮว่าอย่างนี้ รอซูลว่าอย่างนี้แล้ว

ดังนั้น

ท่านก็ต้องไปตรวจสอบซิ ไปสอบถามซิ ไปทบทวนซิ ว่าอะไรบ้างท่านปฏิบัติมัน ท่านยึดถือมัน โดยปราศจากหลักฐานที่มาจากอัลกุรอานและหะดิษรองรับครับ ท่านลองทบทวนนะ ว่า อามาลที่ท่านปฏิบัติเป็นประจำทุกวันและต้องถูกสอบสวนเป็นประการแรกในวันกียามัตและเป็นหนึ่งอามาลที่ท่านเองใช้ในการแสวงหาผลบุญในเดือนรอมฏอน นั่นก็คือ การละหมาด ท่านลองดูซิ ว่าทุกอิริยาบท ทุกคำพูด ทุกคำกล่าวที่ท่านได้เปล่งออกมานั้น มาจากอัลลอฮว่า รอซุลว่าหรือไม่ครับ หรือวันนี้ ท่านได้แต่ละหมาดเพียงก้มๆเงยๆ ท่านทำอามาลต่างๆเพียงเพราะตามเขากันมา เขาว่ากันว่า หรือตามพ่อแม่ ตามปู่ย่า ตายาย ตามโต๊ะครู ตามใจฉันที่อยากทำ ตามความถูกใจที่อยากทำ สาว่ามันจะถูก สาว่ามันจะดี สาว่ามันจะถูกตอบรับครับ ทำไมผมถึงบอกว่า ท่านตามเขาเหล่านั้นหรือเปล่าครับ ผมไม่ได้บอกนะครับว่า เขาเหล่านั้นจะทำผิดนะ ทำไม่ถูกนะ แต่หากเขาเหล่านั้นได้กระทำที่มาจากอัลลอฮว่ารอซูลว่าจริงๆก็อัลอัมดุลิลลอฮครับ ท่านก็รอดปลอดภัยครับ แต่หากเขาเหล่านั้นปฏิบัติกันมาเช่นกัน ท่านเองนั่นแหละที่จะเป็นคนที่ขาดทุนในวันกียามัตครับเพราะการงานใครก็การงานมัน และผมไม่ได้หมายรวมว่า เขาเหล่าจะตกนรกนะ เขาจะมีความผิดนะ หากในสิ่งที่เขาทำนั้น ไม่ถูกต้องตามที่อัลลฺอฮว่า รอซูลว่าครับหากเขาเหล่านั้นเสียชีวิตลงแล้ว..อินชาอัลลอฮ เพราะอะไรนั่นหรอ ก็เพราะอัลลอฮจะสอบสวนเท่าเขาที่ได้ศึกษามา เท่าที่เขาเรียนรู้มา เท่าที่ความสามารถในการแสวงหาของเขานั่นมี เท่าที่การเข้าถึงศาสนานั้นครับ ซึ่งแน่นอน ถามท่านว่า การรับรู้ในสมัยของเขานั้นย่อมไม่ใช่การรับรู้ในสมัยของเราเป็นแน่ ที่มีทั้งหนังสือ มีทั้งการบรรยาย มี่ทั้งทางอินเทอร์เน็ต และอื่นๆอีกมากมายที่สามารถตรวจสอบได้ว่า อะไรคือสิ่งที่อัลลอฮว่า รอซูลว่า อะไรคือสื่งที่ไม่ใช่สิ่งที่อัลลอฮว่า รอซูลว่าครับ ซึ่งแน่นอนย่อมไม่เป็นข้ออ้ างสำหรับการสอบสวนเลยนะครับ ว่าฉันไม่รู้ ฉันตามเขามา และฉันไม่อยากแสวงหาอะไรครับ เพราะฉันรู้แล้ว ฉันทำมา 20 ปี 30 ปี 40 ปี จะผิดได้ไง หลายคน อาจจะหลอกตัวเองว่าตัวเองนั่นรู้ว่าผิด แต่ไม่กล้ายอมรับ ไม่กล้ารับความจริง ไม่กล้าเปลี่ยน เพราะขืนยอมรับก็เท่ากับว่า เราทำผิดมาทั้งชีวิตล่ะซิ เราตายตอนนี้เราตกนรกอ่ะซิ ก็อามาลจะพอที่ไหนเล่า นี่แหละครับ ท่านต้องรู้ ท่านต้องเข้าใจว่า ว่าอัลลอฮทรงเมตตา อัลลอฮทรงยินดีและรับการอภัยนะครับ หากท่านสำนึก หากท่านแสวงหา หากท่านจริงจังครับ

ท่านจริงกับอัลลอฮ อัลลอฮก็จะจริงกับท่านนะครับ

ดังนั้น

ลองมาตรวจสอบและทบทวนดูนะครับ ว่าวันนี้? ท่านเตรียมเสบียงความรู้อย่างไรกับการรับเข้าวันรอมฏอนครับ ท่านเตรียมมากน้อยแค่ไหน และท่านรู้ดีมากแค่ไหนครับ กับความรู้ของเดือนอันประเสริฐนั้นครับ หรือท่านจะละหมาด จะถือบวชและทำอิบาดะห์เหมือนๆกับที่ท่านทำในวันนี้ครับ เสียสละเวลาสักนิดเถิดครับ เพื่อตัวของท่านนะ มิใช่เพื่อใครอื่น ท่านอยากเข้าสวรรค์มิใช่หรือ แล้วท่านจะยังดื้อดึงและตะแบงกับสิ่งที่ตัวเองกระทำอย่างไรเล่าหากท่านยังไม่แน่ใจว่าถูกไหม ไม่เสียหายเลยครับ หากการกลับไปทบทวนจนแน่ใจว่า นั่นถูกต้องแล้ว นั่นมีหลักฐานแล้วที่รองรับจากอัลลอฮว่า รอซูลว่าครับ

จงทบทวนเถิดนะคร๊าบๆๆๆ

***หวังเพียงว่า ผู้เขียนเองและท่านทั้งหลายเองจะตระหนัก จะไตร่ตรองและทบทวนว่า สิ่งที่ทำอยู่ สิ่งที่เราปฏิบัติอยู่ มันถูกไหม มันจริงไหมกับสิ่งที่อัลลอฮว่า รอซูลว่า และเราเองกลับไปศึกษา กลับไปหา กลับไปเรียนรู้หรือไม่ซึ่งอัลกุรอานและหะดิษ หากความคลุมเครืออย่างนี้มายังท่านครับ....อินชาอัลลอฮ

โอ้..อัลลอฮ

อัลลอฮเท่านั้นที่ฉันเคารพภักดี อัลลอฮเท่านั้นที่ฉันขอความช่วยเหลือ

ขอพระองค์ทรงทำให้ฉันและท่าน ครอบครัวของฉันและท่านทั้งหลายได้อยู่บนหนทางอันเที่ยงตรงด้วยเถิด......อามีน

***หากการเรียบเรียงซึ่งบทความที่ปรากฏดังกล่าวข้างต้นและรวมถึงทัศนะส่วนตัวเพียงน้อยนิด นำมาซึ่งความผิดพลาดในเรื่องของหลักการอิสลามโดแท้จริงแล้วไซร์.....อินชาอัลลอฮ ท่านสามารถติ ชมและแนะนำมาได้ครับ....

ติดตามอ่านไฟล์ข้างต้นและอ่านเรื่องราวความรู้เกี่ยวกับเดือนรอมฏอนรวมไฟล์เสียงได้ทางเว็ปดังนี้ครับ


http://www.islaminthailand.net/text.php?id=246


หากท่านใดมีปัญหาถึงการเข้าไปอ่านและฟัง สามารถแจ้งมายังเมลผมได้ครับ จะได้จัดเป็นไฟล์บทความให้....อินชาอัลลอฮ


والسلام عليكم ورحمة الله وبركاته

Sahaba

In Islam, the Ṣaḥābah (Arabic: الصحابة‎) "Companions" were the companions of the Islamic prophet Muḥammad. This form is plural; the singular is masculine sahābiyy, feminine sahābiyyah. A list of the best-known companions can be found in the List of sahābah.

Definitions of "Companion"
Most Sunnis regard anyone who, in the state of faith, saw Muhammad to be a sahābiyy[1]. Lists of prominent companions usually run to fifty or sixty names, being the people most closely associated with Muhammad. However, there were clearly many others who had some contact with Muhammad, and their names and biographies were recorded in religious reference texts such as Muḥammad ibn Sa'd's early Kitāb at-Tabāqat al-Kabīr.

Muhammad bin Ahmad Efendi (death 1622), who is also known with the sobriquet "Nişancızâde", the author of the book entitled Mir’ât-i-kâinât (in Turkish), states as follows: "Once a male or female Muslim has seen Hadrat Muhammad only for a short time, no matter whether he/she is a child or an adult, he/she is called a Sahaba with the proviso of dying with as a believer; the same rule applies to blind Muslims who have talked with the Prophet at least once. If a disbeliever sees the Prophet and then joins the Believers after the demise of Muhammad, he is not a Sahaba; nor is a person called a Sahaba if he converted to Islam afterwards although he had seen the Prophet Muhammad as a Muslim. A person who converts to Islam after being a Sahaba and then becomes a Believer again after the demise of Prophet Muhammad, is a Sahaba."

It was important to identify the companions because later scholars accepted their testimony (the hadith, or traditions) as to the words and deeds of Muhammad, the occasions on which the Qur'an was revealed, and various important matters of Islamic history and practice (sunnah). The testimony of the companions, as it was passed down through chains of trusted narrators (isnads), was the basis of the developing Islamic tradition.


Other links in the Chain of Isnad
Because the hadith were not written down until many years after the death of Muhammad, the isnads, or chains of transmission, always have several links. The first link is preferably a companion, who had direct contact with Muhammad. The companion then related the tradition to a tābi‘īn, the companion of the companion. Tābi‘īn had no direct contact with Muhammad, but did have direct contact with the sahāba. The tradition then would have been passed from the Tābi‘īn to the Tābi‘ at-Tābi‘īn, the third link.

The second and third links in the chain of transmission were also of great interest to Muslim scholars, who treated of them in biographical dictionaries and evaluated them for bias and reliability. Shi'a and Sunni apply different metrics.


Numbers of companions
Some Muslims assert that there were more than two hundred thousand companions. One hundred twenty four thousand are believed to have witnessed the last sermon Muhammad delivered after making his last pilgrimage, or Hajj, to Mecca.

The book entitled Istî’âb fî ma’rifat-il-Ashâb by Hafidh Yusuf bin Muhammad bin Qurtubi (death 1071) consists of two thousand and seven hundred and seventy biographies of male Sahaba and three hundred and eighty-one biographies of female Sahaba. According to an observation in the book entitled Mawâhib-i-ladunniyya, an untold number of persons had already converted to Islam by the time Muhammad died. There were ten thousand Sahaba by the time Mecca was conquered and seventy thousand Sahaba during the Battle of Tabuk in 630.

Japanese Islamic Nasheed

アハマド前野氏による作詞・作曲のアッラーとその預言者ムハンマド様彼の上に平安あれへの愛にあふれた歌。 詩は2008年7・8月SEERAH Number of Naveed-e-Sahar, organ of Islamic Circle of Japan により出版されました This is the song full of love for Allah and His beloved Prophet ...


ヤーアッラー ヤー アッラー

あなたのほかにはなにも

頼れるものなどない


頼れるものなどない

2 ヤー アッラー ヤー アッラー

称賛と感謝はすべて

あなたにのみありますように

あなたにのみありますように

3 ヤー アッラー ヤー アッラー

祝福と平安を

あなたの預言者に

あなたの預言者に

4 ラスーラッラー ラスーラッラー

あなたの名はムハンマド

あらゆるものへの慈悲

あらゆるものへの慈悲

5 ラスーラッラー ラスーラッラー

あなたは教えてくれた

アッラーの深い愛を

アッラーの深い愛を

6 ラスーラッラー ラスーラッラー

あなたを愛することが

アッラーに近づく鍵

アッラーに近づく鍵

7 ヤーアッラー ヤーアッラー

私たちの家族をみんな



導いてください

Ulema

Ulema (علماء, ‘Ulamā’, singular: عالِم, ‘Ālim, "scholar") refers to the educated class of Muslim legal scholars engaged in the several fields of Islamic studies. They are best known as the arbiters of shari‘a law. While the ulema are well versed in legal jurisprudence being Islamic lawyers, some of them also go on to specialize in other fields, such as philosophy, dialectical theology or Quranic hermeneutics or explanation. The fields studied, and the importance given them, will vary from tradition to tradition, or even from seminary to seminary

In a broader sense, the term ulema is used to describe the body of Muslim clergy who have completed several years of training and study of Islamic sciences, such as a mufti, qadi, faqih, or muhaddith. Some Muslims include under this term the village mullahs, imams, and maulvis—who have attained only the lowest rungs on the ladder of Islamic scholarship; other Muslims would say that clerics must meet higher standards to be considered ulema.

Teaching

Ulema teach at Islamic religious schools called Medereses where they teach students about the science of Islam and other areas of study. It is believed in Islam that a well-rounded education is something every Muslim must acquire in order to understand God’s religion in its entirety. Ulema also hold seminars where they give lectures and speeches about the area of Islam in which they specialize.


Executive capacity

In contemporary times, the ulema are most powerful in the Shi'a tradition of Islam. Following the 1979 revolution in Iran, factions of the Iranian Shia clergy, under the leadership of Khomeini, took control of the country. This was justified by Khomeini's doctrine of "Guardianship of the Jurists" (Wilayat-i Faqih).

Afghanistan's Taliban regime was also headed by a mullah, Mullah Omar. However, in most countries, they are merely local power figures.


Military commanders

Ulemas not only have influence over social and religious spheres but they are also deeply involved in politics and have power over courses of action in such fields. In the Islamic State of Afghanistan and the Islamic Republic of Iran, mullahs have directly coordinated military operations. This is in keeping with Islamic traditions, as Muhammad and his successors were military commanders themselves.


Role in judicature
In certain Muslim countries, like Saudi Arabia and United Arab Emirates, where there are sharia courts, Islamic clergy become judges. Therefore, a main job of ulema is the interpretation and maintenance of Islamic law in such countries.


Advisory role
In some countries like Saudi Arabia, Islamic clergy fulfill the role of a counsel for the king. There are also jobs for them in various governmental institutions.


Preaching
There are various jobs available for the Islamic clergy at mosques, such as leading public prayers, preaching, and delivering sermons, especially at Friday prayers. Some have made missionary activities a lifelong activity such as the Tablighi Jamaat group.


Role of the ulema in the ummah

The ulema in most nations consider themselves to represent the
ijma "consensus" of the Ummah "community of Muslims" (or to represent at least the scholarly or learned consensus). Many efforts to modernise Islam focus on the reintroduction of ijtihad and empowerment of the ummah to form their own ijma.

Ulema as authors

Many ulema have left behind them only a lifetime of mediating disputes and giving sermons; their respectable contributions did not include authorship. Other ulema have been prolific authors, writing translations of the
Qur'an or Quranic commentaries, studies of hadith, works of philosophy, religious admonition, etc. There are enormous bodies of religious literature that form not only the substance of the courses in Islamic seminaries, but inspirational reading for the ordinary Muslim. Most of this literature has not been translated into English, but remains in its original language (usually Arabic, Urdu, Persian, or Turkish). Some has been printed; some remains in manuscript form.